แนวทางการเลือกใช้
 1.
กำหนดแรงดันสูงสุด ในภาวะปกติที่ตกคร่อมตัววาริส เตอร์ เมื่อยังไม่มีแรงดันทรานเชียนต์เกิดขึ้น
โดยรวมทั้งแรง ดันสูงใดๆ ในสายที่อาจเกิดขึ้น ยกตัวอย่างเช่น ระบบไฟ 117
โวลต์ ความเที่ยงตรง ฑ 10%. ดังนั้น รงดันสูงสุดในสายที่อาจ เกิดขึ้น = 129
โวลต์ อาร์เอ็มเอส กำหนดตำแหน่งของแรงดันตามสเกลในแนวนแน. จากตารางที่ 2
แล้วดูลงมาตามแนวดิ่งเพื่อ เลือกวาริส เตอร์แบบที่เหมาะสม.
ตารางที่
2 การเลือกใช้วาริสเตอร์ให้เหมาะสมกับงาน

2.
กำหนดระดับของพลังงานทรานเชียนต์ ตามสเกลในแนวดิ่งด้านซ้ายสุด เพื่อให้เหมาะสมกับขั้นตอนในข้อ
1 ยกตัว อย่างเช่น 129 Vrms 20 จูลส์ ( ตามตารางจะเห็นว่าจะต้องเลือกแบบ
L และ แบบ PA จึงจะเหมาะสม ) ถ้าไม่ทราบถึงระดับ พลังงาน ให้ลองประมาณดูตามความเหมาะสมของงานแต่ละอย่าง.
สำหรับกระแสทรานเชียนต์สูงสุด 20 แอมป์ . พลังงานที่สะ สมอยู่จะมีค่าน้อย
( เช่น ใช้ป้องกันหน้าสัมผัสของรีเลย์ ) หรือ ถ้าใช้วาริสเตอร์ในตำปหน่งที่อยู่หลังอุปกรณ์ที่ดูดซับทรานเชียนส์
ที่เกิดขึ้น เช่น หม้อแปลงไฟฟ้า ตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุ ) แบบ MA ( 0.1
- 7 จูลส์) จะเหมาะสมกว่าถ้าต้องการให้ พัลส์ของ กระแสยอดที่สูงขึ้น ก็ลองเลือกแบบ
ZA , L หรือ PA ขึ้นอยู่กลับแรงดันที่ต้องการ.
3.
หลังจากกำหนดพลังงาน และ แรงดันที่ป้อนให้เสร็จแล้ว จะต้องพิจารณาถึงความต้องการในการ
แพร่กระจาย พลัง งานโดยเฉลี่ยสำหรับทรานเชียนต์ที่เกิดบ่อย หรือต้องการติดตั้งแบบแข็งแรงให้
เลือกใช้แบบ PA และ สำหรับงานเฉพาะเจาะ จง นั้นต้องเปิดดูจากหนังสือคู่มือของแต่ละประเภทต่อไป.

สาเหตุของการเกิดแรงดันทรานเชียนต์
จากที่กล่าวมาทั้งหมด
คงจะเป็นประโยชน์ต่อท่านในการตัดสินใจเลือกใช้วาริส เตอร์ เพื่อการป้องกันวงจรที่ถูกต้องนะ
ครับ.
|