กลับหน้าบทความอิเล็กทรอนิกส์ | SE-ED.com | Electronics Society | ThailandIndustry.com | Webboards |
ตัวต้านทาน : จักรกฤษณ์ นพคุณ

ที่มา : วารสาร HOBBY ELECTRONICS ฉบับที่ 40 เดือน สิงหาคม 2537

หน้าแรก
กำลังไฟฟ้า
การรวมตัวต้านทาน
ตัวต้านทานปรับค่าได้
การคำนวณกำลังไฟฟ้า ของตัวต้านทาน
การใช้งานตัวต้านทาน ในแบบอื่น

การรวมตัวต้านทาน


ตารางที่ 1 ค่าของความต้านทานมาตราฐานที่หาได้ในท้องตลาดมีค่าผิดพลาด 5%, 10%

จากตารางที่ 1 ถ้าเราต้องการค่าความต้านทานที่นอกเหนือจากนี้ เราทำได้โดยต่อตัวต้านทานในแบบอนุกรมหรือขนานดังรูปที่ 6


รูปที่ 6 แสดงการต่อตัวต้าานทาน ก. แบบอนุกรม ข. แบบขนาน

การต่อแบบอนุกรม
RT = R1 + R2 + R3

การต่อแบบขนาน
RT = 1/R1 + 1/R2 + 1/R3

ปกติตัวต้านทานที่มีขายทั่วไป (แบบคาร์บอน) จะมีความผิดพลาด 5% แต่ก็ยังมีตัวต้านทานแบบพิเศษ คือ ตัวต้านทานที่มี ความผิดพลาด 1% (แบบ metalfilm) แต่ก็แน่นอน ราคาของตัวต้านทานแบบนี้ย่อมมีราคาแพงกว่าแบบคาร์บอนอยู่ประมาณ 1 เท่าตัว ปกติวงจรทั่วไปก็ไม่จำเป็นต้องใช้ตัวต้านทานประเภทนี้หรอก..


สงวนลิขสิทธิ์
พ.ศ. 2542-2553 โดยบริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน)
Copyright © 1999-2010 by SE-EDUCATION Public Company Limited. All rights reserved.