หน้าแรก
ตัวเก็บประจุแบบเซรามิก
ตัวเก็บประจุแบบไมก้า
ตัวเก็บระจุแบบแก้ว
ตัวเก็บประจุแบบเปเปอร์และ
แบบพลาสติก
ตัวเก็บประจุแบบแทนทาลั่ม
ตัวเก็บประจุแบบ
อะลูมินั่มอิเล็กทรอไลติก
ตัวเก็บประจุแบบทริมเมอร์
สรุปแนวทางในการเลือกใช้
ตัวเก็บประจุ


|
ตัวเก็บประจุแบบแก้ว
 ตัวเก็บประจุแบบแก้วนี้
จะใช้ในงานซึ่งต้องการความเชื่อถือในการทำงานสูง ในสภาพแวดล้อมที่รุนแรง
โดยตัวเก็บประจุ แบบนี้จะสามารถทนต่อการสั่นสะเทือนความเร่ง ความชื้นอย่างรุนแรง
สูญญากาศ และอุณหภูมิ ขณะใช้งานสูง แต่อย่างไรก็ตาม ตัวเก็บประจุแบบนี้จะอ่อนไหวต่อความเสียหาย
ที่จะเกิดขึ้นจากการกระแทกกระเทือน จากภายนอก แม้จะเป็นอย่างอ่อน ๆ อายุการ
ใช้งานคาดไว้ว่าประมาณ 30000 ชั่วโมง หรือมากกว่านั้น
ตัวเก็บประจุแบบแก้ว
สามารถทำงานได้ดีมากที่ความถี่สูงถึง 500 เมกะเฮิรตซ์ และมีย่านความถี่จาก
100 กิโลเฮิรตซ์ จน ถึง 16 กิโลเฮิรตซ์
เนื่องจากคุณสมบัติที่ดีเด่นของมัน จึงได้ถูกนำไปใช้ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์
ในขีปนาวุธและยานอวกาศ
|