กลับหน้าบทความอิเล็กทรอนิกส์ | SE-ED.com | Electronics Society | ThailandIndustry.com | Webboards |
วาริสเตอร์ ผู้พิทักษ์วงจร : สว่าง ประกายรุ้งทอง

ที่มา : วารสาร SEMICONDUCTER ฉบับที่ 74 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2529 - มกราคม พ.ศ. 2530

หน้าแรก
การประยุกต์การใช้งาน
แนวทางในการใช้



แนวทางการเลือกใช้

1. กำหนดแรงดันสูงสุด ในภาวะปกติที่ตกคร่อมตัววาริส เตอร์ เมื่อยังไม่มีแรงดันทรานเชียนต์เกิดขึ้น โดยรวมทั้งแรง ดันสูงใดๆ ในสายที่อาจเกิดขึ้น ยกตัวอย่างเช่น ระบบไฟ 117 โวลต์ ความเที่ยงตรง ฑ 10%. ดังนั้น รงดันสูงสุดในสายที่อาจ เกิดขึ้น = 129 โวลต์ อาร์เอ็มเอส กำหนดตำแหน่งของแรงดันตามสเกลในแนวนแน. จากตารางที่ 2 แล้วดูลงมาตามแนวดิ่งเพื่อ เลือกวาริส เตอร์แบบที่เหมาะสม.

ตารางที่ 2 การเลือกใช้วาริสเตอร์ให้เหมาะสมกับงาน

2. กำหนดระดับของพลังงานทรานเชียนต์ ตามสเกลในแนวดิ่งด้านซ้ายสุด เพื่อให้เหมาะสมกับขั้นตอนในข้อ 1 ยกตัว อย่างเช่น 129 Vrms 20 จูลส์ ( ตามตารางจะเห็นว่าจะต้องเลือกแบบ L และ แบบ PA จึงจะเหมาะสม ) ถ้าไม่ทราบถึงระดับ พลังงาน ให้ลองประมาณดูตามความเหมาะสมของงานแต่ละอย่าง. สำหรับกระแสทรานเชียนต์สูงสุด 20 แอมป์ . พลังงานที่สะ สมอยู่จะมีค่าน้อย ( เช่น ใช้ป้องกันหน้าสัมผัสของรีเลย์ ) หรือ ถ้าใช้วาริสเตอร์ในตำปหน่งที่อยู่หลังอุปกรณ์ที่ดูดซับทรานเชียนส์ ที่เกิดขึ้น เช่น หม้อแปลงไฟฟ้า ตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุ ) แบบ MA ( 0.1 - 7 จูลส์) จะเหมาะสมกว่าถ้าต้องการให้ พัลส์ของ กระแสยอดที่สูงขึ้น ก็ลองเลือกแบบ ZA , L หรือ PA ขึ้นอยู่กลับแรงดันที่ต้องการ.

3. หลังจากกำหนดพลังงาน และ แรงดันที่ป้อนให้เสร็จแล้ว จะต้องพิจารณาถึงความต้องการในการ แพร่กระจาย พลัง งานโดยเฉลี่ยสำหรับทรานเชียนต์ที่เกิดบ่อย หรือต้องการติดตั้งแบบแข็งแรงให้ เลือกใช้แบบ PA และ สำหรับงานเฉพาะเจาะ จง นั้นต้องเปิดดูจากหนังสือคู่มือของแต่ละประเภทต่อไป.

สาเหตุของการเกิดแรงดันทรานเชียนต์

จากที่กล่าวมาทั้งหมด คงจะเป็นประโยชน์ต่อท่านในการตัดสินใจเลือกใช้วาริส เตอร์ เพื่อการป้องกันวงจรที่ถูกต้องนะ ครับ.


สงวนลิขสิทธิ์
พ.ศ. 2542-2553 โดยบริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน)
Copyright © 1999-2010 by SE-EDUCATION Public Company Limited. All rights reserved.