การสร้าง

ภาพแสดงภายในของกล่อง
โดยแผ่นวงจรพิมพ์ติดตั้งไว้ในแนวตั้งระหว่างมิเตอร์และแบตเตอรี่
9 โวลต์
วงจรสร้างขึ้นบนแผ่นวงจรพิมพ์ขนาดเล็ก
ดังแสดงในรูปขนาด 62 X 31 มม. ซึ่งได้ออกแบบมาสำหรับติดตั้งอยู่ภายใน กล่องพลาสติกขนาดเล็ก.

มิเตอรที่ใช้ในวงจรต้นแบบนี้
เป็นแบบสี่เหลี่ยมขนาดเล็ก ชนิด 0 - 1 mA ขนาด 57 X 52 มม. เพื่อให้ดูง่ายขึ้น
และเที่ยง ตรงอาจใช้มิเตอร์ที่มีขนาดใหญ่กว่านี้ แต่ราคาก็จะสูงกว่านี้.
เราใช้ปลั๊ก
และ ซ็อกเก็ต 2 ขาที่มีขั้ว ซึ่งที่ตัวปลั๊กมีขากลมๆ 2 ขา ที่มีความโตไม่เท่ากัน.
เพื่อต่อเข้ากับตัวเทอร์โมคัปเปิล เข้ากับวงจรที่ใช้วัด. สวิตซ์โยกขนาดเล็กใช้ทำหน้าที่เปิด
- ปิด ไฟเข้าเครื่อง.
ในการประกอบวงจรวัด
ควรจะทำตามขั้นตอนโดยใช้ไดอะแกรมเดินสาย และ รูปภาพประกอบ. ในการประกอบอุปกรณ์
ลงบนแผ่นวงจรพิมพ์ ให้ลงตัวต้านทาน และ สายต่อลงไปก่อนแล้วจึงลงตัวเก็บประจุไอซี
และ โปแทนชิ โอมิเตอร์ในขั้นตอนสุด ท้าย โดยต้องระวังการลงขาของไอซี และ
ตัวเก็บประจุแบอิเล็กทรอนิกส์ ให้ถูกต้อง. และ ดูว่าได้ติดตั้งโปแทนชิโอมิเตอร์สอง
ตัวไว้ในตำแหน่งที่ถูกต้องของมัน.

กาติดตั้งอุปกรณ์และการเดินสายไปยังแผ่นวงจร
เมื่อทุกอย่างเสร็จสมบูรณ์
ก็พร้อมที่จะเริ่มต้นการปรับแต่ง . ในขั้นแรกก็โดยการปรับมิเตอร์อย่างระมัดระวังให้เข็มชี้ที่
ศูนษ์ ในขณะยังไม่เปิดไฟเข้าเครื่อง เพื่อให้สอดคล้องกับค่าศูนษ์บนสเกล.

|