กลับหน้าบทความอิเล็กทรอนิกส์ | SE-ED.com | Electronics Society | ThailandIndustry.com | Webboards |
สารานุกรมไดโอดฉบับย่อย ตอนที่ 1 : บุญชัย งามวงศ์วัฒนา

ที่มา : วารสาร SEMICONDUCTER ฉบับที่ 137 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2537

หน้าแรก
ทบทวนกับไดโอดพื้นฐาน กันก่อน
ไดโอดชนิดซิลิกอนกับ อีกหลายบทบาทที่พิเศษกว่าเดิม
วงจรเร็กติไฟเออร์แบบครึ่งคลื่น
วงจรเร็กติไฟเออร์แบบเต็มคลื่น
การเลือกใช้งานหม้อแปลง
การเลือกตัวเก็บประจ ุกรองกระแส
สรุปค่าต่าง ๆ ที่ควรคำนึง ของวงจร เร็กติไฟเออร์


สรุปค่าต่าง ๆ ที่ควรคำนึงของวงจรเร็กติไฟเออร์

รูปที่ 19 สรุปค่าแรงดันย้อนกลับสูงสุด (peak inverse voltage : PIV ) และอัตราทนกระแสของ วงจรเร็กติไฟเออร์ พื้นฐานทั้ง 3 ชนิด จะเห็นว่าวงจรเร็กติไฟเออร์แบบเต็มคลื่น (ใช้หม้อแปลงแบบมีจุดแท็ปกลาง) และวงจรเร็กติไฟเออร์แบบบริดจ์ (ใช้หม้อแปลงธรรมดา) สามารถจ่ายแรงดันขณะโหลดดึงกระแสเต็มที่ได้ 1.2E และไดโอดที่ใช้จะต้องมีอัตราทนกระแสอย่าง น้อยที่สุด 0.5I (I คือกระแสที่โหลดต้องการ) แต่วงจรแบบบริดจ์มีค่า PIV ของไดโอดเพียงหนึ่งของแบบเต็มคลื่นเท่านั้น

รูปที่ 19 สรุปคุณลักษณะต่าง ๆ ของวงจรเร็กติไฟเออร์

และในตอนต่อไปของมินิซีรี่ส์ จะกล่าวถึงการนำไดโอดไปประยุกต์กับงานด้านอื่น ๆ อีก เช่น วงจรทวีแรงดัน , วงจรแคลมป์ และวงจรทางลอจิก เนื้อหาจะเข้มข้นเท่าใด ทบทวนกันมาให้ดีละกัน เดี๋ยวจะหาว่าไม่เตือน

 


สงวนลิขสิทธิ์
พ.ศ. 2542-2553 โดยบริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน)
Copyright © 1999-2010 by SE-EDUCATION Public Company Limited. All rights reserved.