กลับหน้าบทความอิเล็กทรอนิกส์ | SE-ED.com | Electronics Society | ThailandIndustry.com | Webboards |
สารานุกรมไดโอดฉบับย่อย ตอนที่ 2 : บุญชัย งามวงศ์วัฒนา

ที่มา : วารสาร SEMICONDUCTER ฉบับที่ 138 เดือน เมษายน พ.ศ. 2537

หน้าแรก
วงจรแคลป์
วงจรเร็กติไฟร์
วงจรทวีแรงดัน
วงจรพัมพ์
วงจรแดมป์
วงจรเกต
การประยุกต์ใช้งานวงจรไดโอด แบบอื่น ๆ
การกวาดเส้นคู่ในสโคป




วงจรพัมพ์ (diode pump circuit)

จากวงจรทวีแรงดันสองเท่าในรูปที่ 7 ตัวเก็บประจุ C1 และ C2 จะมีค่าเท่ากันและ C3 จะถูกเป็นประจุจนเต็ม (มีค่าแรง ดันเป็นสองเท่า) เพียงไม่กี่ไซเคิลของสัญญาณอินพุต แต่ถ้าเปลี่ยน C1 ให้มีค่าน้อยลงเมื่อเทียบกับ C3 ดังนั้นในแต่ละไซเกิลใหม่ ของสัญญาณอินพุต C2 จะถูกประจุเพิ่มขึ้นด้วย ค่าแรงดันทีละน้อยและลดลงเมื่อสิ้นสุดไซเกิล ทำให้สัญญาณที่ตกคร่อม C2 จะ มีลักษณะเป็นขั้นบันไดที่จะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนประจุเต็ม C2 วงจรลักษณะเช่นนี้เรียกว่า ไดโอดพัมพ์ (diod-pump) และจะใช้ สัญญาณอินพุต 2 x C1/ (C1+C2) ไซเกิลในการประจุ C2 จนมีค่าแรงดันประมาณ 75 เปอร์เซ็นต์ของแรงดันสูงสุดของตัว เก็บประจุ C2

รูปที่ 7 วงจรทวีแรงดันสองเท่า


สงวนลิขสิทธิ์
พ.ศ. 2542-2553 โดยบริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน)
Copyright © 1999-2010 by SE-EDUCATION Public Company Limited. All rights reserved.