กลับหน้าบทความอิเล็กทรอนิกส์ | SE-ED.com | Electronics Society | ThailandIndustry.com | Webboards |
สารานุกรมไดโอดฉบับย่อย ตอนจบ : บุญชัย งามวงศ์วัฒนา

ที่มา : วารสาร SEMICONDUCTER ฉบับที่ 140 เดือน ¡Ã¡®Ò¤Á ¾.È. 2537

หน้าแรก
การประยุกต์ใช้งาน LED
การเลือกใช้ LED
การนำ LED หลาย ๆ ตัว มาต่อใช้งานร่วมกัน
วงจรควบคุม LED แบบต่างๆ
วงจรไฟกระพริบอย่างง่าย
โฟโต้ไดโอด
โฟโต้ทรานซิสเตอร์
ออปโต้คัปเปลอร์
วาริแคปไดโอด



วาริแคปไดโอด

รูปที่ 20 แสดงวงจรใช้งานพื้นฐานที่ใช้วาริแคปไดโอด จากรูปไดโอดจะได้รับการไบแอสกลับจากตัวต้านทาน R1 และแรงดันที่ควบคุมปกติสามารถเปลี่ยนแปลงค่าได้ระหว่าง 0-10 โวลต์ และต่อกับวงจรภายนอก โดยผ่านตัวเก็บประจุ C1 สำหรับค่าความจุของวาริแคปไดโอด จะมีค่ามากที่สุดเมื่อแรงดันไบแอสเป็นศูนย์และ จะลดลงเมื่อแรงดันไบแอสเพิ่มขึ้น

ไดโอดชนิดซิลิกอนโดยทั่วไปจะมีความจุสูงสุดขณะแรงดันไบแอสเป็นศูนย์ ประมาณ 2-3 พิโกฟารัด และมีอัตราส่วนของความจุสูงสุดต่ำสุดประมาณ 2 : 1 แต่สำหรับวาริแคปไดโอด ซึ่งถูกผลิตขึ้นมาจะมีความจุสูงสุดมากถึงประมาณ 500 พิโคกฟารัดและมีอัตราส่วนของความจุ 20:1 คือ สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตั้งแต่ 25-500 พิโกฟารัด วาริแคปไดโอดโดยส่วนใหญ่ จะนำมาประยุกต์ใช้ ในวงวงจรจูนความถี่ที่ควบคุมด้วยแรงดัน

ที่กล่าวมาทั้งหมดของบทความนี้เป็นเพียงภาพรวม และหลักในการนำไดโอดชนิดต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้งาน เพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบวงจรต่อไป สำหรับการคำนวณหาค่าต่าง ๆ โดยละเอียด ก็คงไม่เป็นเรื่องยากอีกต่อไป เพราะคุณเข้าใจถึงหลักการของวงจรต่าง ๆ ทั้งหมดแล้ว


สงวนลิขสิทธิ์
พ.ศ. 2542-2553 โดยบริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน)
Copyright © 1999-2010 by SE-EDUCATION Public Company Limited. All rights reserved.